ถ้าจะซื้อของออนไลน์จาก 2 เจ้านี้อยู่แล้ว คลิ๊กลิงค์ หรือ โลโก้ ข้างล่างนี้เลยครับ ผมจะได้ค่าคอมฯเล็กๆน้อยๆสมทบทุนจ่ายค่าเช่า host server ขอบคุณครับ

(ไม่ต้องกังวลนะครับ ไม่ใช่ลิงค์ดูดเงินแน่ๆ)

https://raka.is/r/qlzXR https://raka.is/r/gP7GV

PTTEP S1 Concession extension อนุมัติต่อสัมปทานปิโตรฯ 10 ปี

PTTEP S1 Concession extension อนุมัติต่อสัมปทานปิโตรฯ 10 ปี – S1 เป็นพื้นที่สัมปะทานบกของพี่ใหญ่ปตท.สผ.เราครับ พี่ใหญ่เราซื้อต่อมาจากไทยเชลส์เมื่อหลายปีมาแล้ว

S1 อยู่ตรงไหน …

PTTEP S1 Concession extension

อ้าว … ข้อความบัง อยากให้เห็นภาพโดยรวมว่าพื้นที่มันรูปร่างอย่างไร เอาใหม่ๆ ประมาณนี้ครับ เฉพาะตรงสีเขียวนวลๆนั่นเท่านั้นนะครับที่เป็น S1

ถ้าจะซื้อของใน shopee อยู่แล้ว เข้าทางนี้เลยครับ ผมจะได้ค่าคอมฯ ถือว่าช่วยผมจ่ายค่าเช่า host server ไม่ใช่คลิ๊กดูดเงินแน่นอนครับ ไม่ต้องกังวล

ถ้ายังงๆว่า เอ๊ะ ตรงไหนของประเทศไทย ถอยออกมาดูไกลๆหน่อยก็ได้ครับ

PTTEP S1 Concession extension

ตามข่าว (สีน้ำเงินข้างล่าง) … มีเกร็ดแซวกันขำๆเล็กๆจากเพื่อนๆในวงการ S1

สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีตั้งข้อสังเกตว่า การขุดเจาะปิโตรเลียมด้วยวิธี Hydraulic Fracturing โดยการฉีดน้ำผสมทราย และ สารเคมีลงไปในหลุมเพื่อให้เกิดรอยแตกในชั้นหินและให้น้ำมันดิบ และ ก๊าซธรรมชาติไหลออกมา อาจทำให้สารที่ใช้รั่วไหลลงสู่แหล่งน้ำบาดาลได้ หากดำเนินการอย่างไม่ระมัดระวัง แล ขาดการควบคุมที่ดี ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม พื้นที่เกษตรกรรมและการประมง

-------------------------------------------------------

ไม่พลาด ข่าวสาร บทความ ความรู้ ประกาศตำแหน่งงานว่าง และ อื่นๆ

กรอก ชื่อ และ อีเมล์ ในแบบฟอร์มข้างล่าง จะมีอีเมล์กลับมาให้ "ยืนยัน" นะครับ การสมัครจึงจะสมบูรณ์ ... อ้อ ... อย่าลืมดูใน junk, trash, spam box นะครับ บางทีระบบมันเอาอีเมล์ตอบกลับไปไว้ที่นั่น

จะมีอีเมล์กลับมาให้ "ยืนยัน" นะครับ การสมัครจึงจะสมบูรณ์ … อ้อ … อย่าลืมดูใน junk, trash, spam box นะครับ บางทีระบบมันเอาอีเมล์ตอบกลับไปไว้ที่นั่น แล้วอย่าลืม mark as not junk or spam ด้วยนะครับ เวลาส่งเตือนคราวหน้า จะได้ไปอยู่ใน in box :)

รวมถึงสุขภาพของประชาชนในพื้นที่โดยรอบ ดังนั้นจึงเห็นควรให้กระทรวงพลังงาน โดยกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติตรวจสอบ และ ควบคุมผู้รับสัมปทานปิโตรเลียมแปลงสำรวจบนบกทุกรายที่ใช้วิธีขุดเจาะเดียวกันนี้ ให้ดำเนินการด้วยความรอบคอบรัดกุม ได้มาตรฐานสากล และ เป็นไปตามมาตรฐาน หลักเกณฑ์ และ ข้อบังคับที่กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติกำหนดไว้อย่างเคร่งครัด

ตรงไฮไลท์สีแดงๆนั่นแหละครับ แซวกันแบบพี่ๆน้องๆว่า มาตรฐาน หลักเกณฑ์ และ ข้อบังคับที่กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติกำหนด มีด้วยหรือ 🙂

ใครที่ยังไม่มีพื้นฐานเกี่ยว Hydraulic Fracturing ที่เรากำลังคุยกันเป็นประเด็นนี่ สามารถอ่านเพิ่มเติมได้จากลิงค์ข้างล่างนี้นะครับ

Hydraulic Fracturing ปัญหา และ ผลกระทบ ต่อสังคม และ สภาพแวดล้อม

Thai Shale Gas ก๊าซจากชั้นหินดินดานในประเทศไทย & Hydraulic Fracturing

Stimulation and Fracturing แบ่งปันความรู้จากเพื่อนๆ

PTTEP S1 Concession extension

อนุมัติต่อสัมปทานปิโตรฯ 10 ปี

ที่มา … https://www.thansettakij.com/content/politics/450146?utm_source=homepage&utm_medium=internal_referral&utm_campaign=politics

ครม.อนุมัติต่อเวลาสัมปทานปิโตรเลียมแปลงสำรวจบนบกหมายเลข S1 ให้ บริษัท ปตท.สผ. สยาม จำกัด อีก10 ปี

วันที่ 22 กันยายน 2563 น.ส.ไตรศุลี ไตรสรณกุล รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี กล่าวว่า คณะรัฐมนตรี(ครม.) อนุมัติให้ บริษัท ปตท.สผ. สยาม จำกัด ต่อระยะเวลาผลิตปิโตรเลียมสำหรับสัมปทานปิโตรเลียมเลขที่ 1/2522/16 แปลงสำรวจบนบกหมายเลข S1 (พื้นที่จ.สุโขทัย พิษณุโลก และกำแพงเพชร) ออกไปอีก 10 ปี นับตั้งแต่วันที่ 15 มี.ค. 2564 ถึงวันที่ 14 มี.ค. 2574

โดยทางกระทรวงพลังงานได้รายงานว่า ได้นำเสนอเรื่องการต่อเวลาดังกล่าวให้คณะกรรมการปิโตรเลียมพิจารณาแล้วเห็นว่า ผู้รับสัมปทานปฏิบัติครบถ้วนตามบทบัญญัติของกฎหมายว่าด้วยปิโตรเลียม และ ข้อกำหนดของสัมปทานปิโตรเลียม รวมทั้งแผนดำเนินงาน แผนการลงทุน ระยะเวลาการผลิต และ ผลประโยชน์เพิ่มเติมที่เสนอให้แก่รัฐมีความเหมาะสม และ มีสมรรถนะเชิงพาณิชย์ คณะกรรมการปิโตรเลียมจึงมีมติอนุมัติต่อระยะเวลาออกไปให้ 10 ปี ก่อนที่จะนำมาเสนอครม.ตามขั้นตอน

หาบ้านให้น้องหน่อยครับ :)

ขาวจั๊วะ กอดได้ อิงได้ วางประดับได้

ปาหัวคนข้างๆก็ได้ (เวลาใช้ให้ไปล้างจานแล้วไม่ยอมไป)

https://raka.is/r/XBBPp

อย่างไรก็ตามสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีตั้งข้อสังเกตว่า การขุดเจาะปิโตรเลียมด้วยวิธี Hydraulic Fracturing โดยการฉีดน้ำผสมทราย และ สารเคมีลงไปในหลุมเพื่อให้เกิดรอยแตกในชั้นหินและให้น้ำมันดิบ และ ก๊าซธรรมชาติไหลออกมา อาจทำให้สารที่ใช้รั่วไหลลงสู่แหล่งน้ำบาดาลได้ หากดำเนินการอย่างไม่ระมัดระวัง แล ขาดการควบคุมที่ดี ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม พื้นที่เกษตรกรรมและการประมง

รวมถึงสุขภาพของประชาชนในพื้นที่โดยรอบ ดังนั้นจึงเห็นควรให้กระทรวงพลังงาน โดยกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติตรวจสอบ และ ควบคุมผู้รับสัมปทานปิโตรเลียมแปลงสำรวจบนบกทุกรายที่ใช้วิธีขุดเจาะเดียวกันนี้ ให้ดำเนินการด้วยความรอบคอบรัดกุม ได้มาตรฐานสากล และ เป็นไปตามมาตรฐาน หลักเกณฑ์ และ ข้อบังคับที่กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติกำหนดไว้อย่างเคร่งครัด

อ่านเพิ่มเติม … https://en.wikipedia.org/wiki/Hydraulic_fracturing

Hydraulic fracturing, also called frackingfracinghydrofrackingfraccingfrac’ing, and hydrofracturing, is a well stimulation technique involving the fracturing of bedrock formations by a pressurized liquid. The process involves the high-pressure injection of ‘fracking fluid’ (primarily water, containing sand or other proppants suspended with the aid of thickening agents) into a wellbore to create cracks in the deep-rock formations through which natural gaspetroleum, and brine will flow more freely. When the hydraulic pressure is removed from the well, small grains of hydraulic fracturing proppants (either sand or aluminium oxide) hold the fractures open.[1]

Hydraulic fracturing began as an experiment in 1947, and the first commercially successful application followed in 1950. As of 2012, 2.5 million “frac jobs” had been performed worldwide on oil and gas wells; over one million of those within the U.S.[2][3] Such treatment is generally necessary to achieve adequate flow rates in shale gastight gastight oil, and coal seam gas wells.[4] 

Some hydraulic fractures can form naturally in certain veins or dikes.[5] Drilling and hydraulic fracturing have made the United States a major crude oil exporter as of 2019,[6] but leakage of methane, a powerful greenhouse gas, has dramatically increased.[7] Increased oil and gas production from the decade-long fracking boom has led to lower prices for consumers, with near-record lows of the share of household income going to energy expenditures.[8][9]

Hydraulic fracturing is highly controversial. Its proponents advocate the economic benefits of more extensively accessible hydrocarbons,[10][11] as well as replacing coal with natural gas, which burns more cleanly and emits less carbon dioxide (CO2).[12][13] Opponents of fracking argue that these are outweighed by the environmental impacts, which include groundwater and surface water contamination, noise and air pollution, and the triggering of earthquakes, along with the resulting hazards to public health and the environment.[14][15] 

Research has determined that human health is affected,[16][17] including confirmation of chemical, physical, and psychosocial hazards such as pregnancy and birth outcomes, migraine headaches, chronic rhinosinusitis, severe fatigue, asthma exacerbations, and psychological stress.[18] Groundwater contamination has been documented.[19] Adherence to regulation and safety procedures are required to avoid further negative impacts.[20]

There is considerable uncertainty about the scale of methane leakage associated with hydraulic fracturing, and even some evidence that leakage may cancel out the greenhouse gas emissions benefits of natural gas relative to other fossil fuels.

For example, a report by Environmental Defense Fund (EDF) highlights this issue, focusing on the leakage rate in Pennsylvania during extensive testing and analysis was found to be approximately 10%, or over five times the reported figures.[21] This leakage rate is considered representative of the hydraulic fracturing industry in the US generally. EDF has recently announced a satellite mission to further locate and measure methane emissions.[22]

Increases in seismic activity following hydraulic fracturing along dormant or previously unknown faults are sometimes caused by the deep-injection disposal of hydraulic fracturing flowback (a byproduct of hydraulically fractured wells),[23] and produced formation brine (a byproduct of both fractured and nonfractured oil and gas wells).[24] 

For these reasons, hydraulic fracturing is under international scrutiny, restricted in some countries, and banned altogether in others.[25][26][27] The European Union is drafting regulations that would permit the controlled application of hydraulic fracturing.[28]

ถ้าจะซื้อของออนไลน์จาก 2 เจ้านี้อยู่แล้ว คลิ๊กลิงค์ หรือ โลโก้ ข้างล่างนี้เลยครับ ผมจะได้ค่าคอมฯเล็กๆน้อยๆสมทบทุนจ่ายค่าเช่า host server ขอบคุณครับ

(ไม่ต้องกังวลนะครับ ไม่ใช่ลิงค์ดูดเงินแน่ๆ)

https://raka.is/r/qlzXR https://raka.is/r/gP7GV

--- มีคำถามเพิ่มเติม พูดคุย เม้าส์มอย ไปต่อกันได้ที่กระดานสนทนา (webboard) นะครับ

คลิ๊กเลย

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *

The Sweet Girl

ของมือสองของเฟิร์นค่ะ มีหลายชิ้นเลย ราคาดีสุดๆ (คลิ๊กที่รูปนะคะ ลิงค์จะพาไปที่ร้านค่ะ)

Fern shop

--------- คลิ๊ก - The Sweet Girl ----------