ถ้าจะซื้อของออนไลน์จาก 2 เจ้านี้อยู่แล้ว คลิ๊กลิงค์ หรือ โลโก้ ข้างล่างนี้เลยครับ ผมจะได้ค่าคอมฯเล็กๆน้อยๆสมทบทุนจ่ายค่าเช่า host server ขอบคุณครับ

(ไม่ต้องกังวลนะครับ ไม่ใช่ลิงค์ดูดเงินแน่ๆ)

https://raka.is/r/qlzXR https://raka.is/r/gP7GV

Petroleum Fiscal Regime EP2 ระบบการคลังปิโตรเลียม

Petroleum Fiscal Regime EP2 ระบบการคลังปิโตรเลียม – มีน้องคนหนึ่งใช้นามปากกาแบบถ่อมตัวว่าเป็น Junior Rustabout ได้กรุณาเล่ามาให้ฟังระบบการคลังปิโตรเลียม หรือ ที่เรีกว่า Petroleum Fiscal Regime นั้นเป็นอย่างไร

ตามไปดูกันเลยบครับว่าน้องเขาจะเล่าว่าอย่างไร

Petroleum Fiscal Regime EP2

Petroleum Fiscal Regime EP2

ระบบการคลังปิโตรเลียม

เวลาที่มีข่าวว่าน้ำมันขึ้นราคาทีไร จะมีคนรอบตัวผมมาบ่นว่า บริษัทน้ำมันว่าเอากำไรเกินควร ทั้งที่ทรัพยากรนั้นเป็นของประเทศ แล้วเค้าจะมาลงกับ ปตท.สผ. และ Chevron (โทษฐานที่คนรู้จักกันเยอะ โดนไปซะ) แต่มีบริษัทน้ำมันประมาณ 20 บริษัทที่เข้ามาทำธุรกิจในประเทศไทย ผมคิดว่าสาเหตุที่พวกเค้าบ่น เพราะยังไม่เข้าใจหลักการ “การแบ่งผลประโยชน์” ระหว่างรัฐบาลและบริษัทน้ำมัน

ถ้าจะซื้อของใน shopee อยู่แล้ว เข้าทางนี้เลยครับ ผมจะได้ค่าคอมฯ ถือว่าช่วยผมจ่ายค่าเช่า host server ไม่ใช่คลิ๊กดูดเงินแน่นอนครับ ไม่ต้องกังวล

ดังนั้น ผมอยากจะขออธิบายเกี่ยวกับระบบการคลังปิโตรเลียม “แบบคร่าวๆ นะครับ”

ระบบการคลังปิโตรเลียม (Petroleum Fiscal Regime) ในโลกนี้แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ

  1. ระบบสัมปทาน (Concessionary System),
  2. ระบบแบ่งปันผลผลิต (Production Sharing Contracts: PSC) และ
  3. ระบบรับจ้างบริหาร (Service Contracts)

ในประเทศไทยนั้นใช้ระบบสัมปทาน (Concessionary System) ตอนนี้เรียกว่า “Thailand Petroleum Fiscal Regime III” เริ่มใช้เมื่อปี 1989

สรุปใจความหลักๆ ของ Thailand Petroleum Fiscal Regime III

-------------------------------------------------------

ไม่พลาด ข่าวสาร บทความ ความรู้ ประกาศตำแหน่งงานว่าง และ อื่นๆ

กรอก ชื่อ และ อีเมล์ ในแบบฟอร์มข้างล่าง จะมีอีเมล์กลับมาให้ "ยืนยัน" นะครับ การสมัครจึงจะสมบูรณ์ ... อ้อ ... อย่าลืมดูใน junk, trash, spam box นะครับ บางทีระบบมันเอาอีเมล์ตอบกลับไปไว้ที่นั่น

จะมีอีเมล์กลับมาให้ "ยืนยัน" นะครับ การสมัครจึงจะสมบูรณ์ … อ้อ … อย่าลืมดูใน junk, trash, spam box นะครับ บางทีระบบมันเอาอีเมล์ตอบกลับไปไว้ที่นั่น แล้วอย่าลืม mark as not junk or spam ด้วยนะครับ เวลาส่งเตือนคราวหน้า จะได้ไปอยู่ใน in box :)

  1. เก็บค่าภาคหลวง หักจากรายได้ เป็นอัตราขั้นบันได 5-15% ขึ้นอยู่กับ Production rate (ผลิตได้เยอะ ก็โดนค่าภาคหลวงเยอะ)
  2. เก็บภาษีเงินได้ปิโตรเลียม อัตรา 50% ของกำไรสุทธิ (ได้กำไรเท่าไหร่ โดนหาร 2)
  3. มีผลประโยชน์พิเศษ (Social Remuneration Benefit หรือ SRB) ที่บริษัทน้ำมันเสนอให้แก่รัฐบาล เช่น ให้ทุนการศึกษา, ให้เงินพัฒนาชุมชน

เมื่อบริษัทนำน้ำมันดิบ (Crude Oil) มาขาย สมมติขายได้ 100 บาท หลักๆ จะโดนหักค่าภาคหลวง, ค่าภาษี, และค่าผลประโยชน์ตอบแทนพิเศษ จะเหลือเข้าบริษัทน้ำมันประมาณ 40 บาท ที่เหลือจะเข้ารัฐบาล 60 บาท

และค่าภาคหลวงที่รัฐเก็บมาได้ จะแบ่ง 60% เอาไปให้หน่วยงาน อบต. และ อบจ. ในพื้นที่สัมปทานนั้นๆ

ลองเข้าไปดูที่ https://law.dmf.go.th/public/law/index/main/id/158 ก็ได้ครับ

เวลานำน้ำมันดิบ ที่ได้มาขาย น้ำมันดิบของแต่ละแหล่งจะราคาไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับคุณภาพของน้ำมัน เช่น น้ำมันดิบที่มีค่า API สูงจะขายได้ในราคาสูง

จริงๆ แล้ว คนไทยควรจะจนดีใจน้ำตาไหล ถ้ามีการนำน้ำมันขึ้นมาขายได้มาก เพราะว่าจากบทวิจัย [1] บอกไว้ว่า รัฐบาลได้ส่วนแบ่ง (Government take) 62.2% และ บริษัทน้ำมันได้ส่วนแบ่ง (Company take) 37.8%

==============

ขออนุญาตเพิ่มเติมนะคะ… สำหรับ ผลประโยชน์ตอบแทพิเศษ Social Remuneration Benefit หรือ SRB ใช้ในกรณีบริษัทน้ำมันพบแหล่งปิโตรเลียมขนาดใหญ่ หรือ ในขณะนั้นราคาน้ำมันดิบของตลาดโลกมีแนวโน้มสูงมาก ซึ่งทำให้บริษัทมีกำไรส่วนเกินมาก จึงมี SRB ขึ้นเพื่อให้ประเทศได้รับส่วนแบ่งผลกำไรจากส่วนนี้เพิ่มขึ้นด้วยค่ะ แต่หากปีใดไม่มีกำไรเกิดขึ้นก็ไม่ต้องเสียค่ะ ^^

โดย : patty วันที่: 8 มกราคม 2556 เวลา: 21:08:31 น.

https://en.wikipedia.org/wiki/Petroleum_fiscal_regime

The petroleum fiscal regime of a country is a set of laws, regulations and agreements which governs the economical benefits derived from petroleum exploration and production. The regime regulates transactions between the political entity and the legal entities involved.[1] A commercial or legal entity in this context is commonly an oil company, and two or more companies may establish partnerships to share economic risks and investment capital.

Although petroleum, oil and gas, and hydrocarbons are not technically mineral resources, the term mineral rights is used to denote rights to exploit oil and gas resources from the underground. Onshore, in United States, the landowner possesses exclusive rights for mineral rights, elsewhere generally the state does.[1] For this reason, the fiscal regime of US is divergent from that of other countries. The petroleum licensing system of a country may be considered interwoven with the fiscal regime, however, a licensing system has its distinct function: to grant rights for petroleum exploration and production to commercial entities.

หาบ้านให้น้องหน่อยครับ :)

ขาวจั๊วะ กอดได้ อิงได้ วางประดับได้

ปาหัวคนข้างๆก็ได้ (เวลาใช้ให้ไปล้างจานแล้วไม่ยอมไป)

https://raka.is/r/XBBPp

Because each country has distinctive legislation, there are theoretically just as many different fiscal regimes as there are countries in the world with petroleum resources, but the regimes can still be categorized based on their common characteristics.

ถ้าจะซื้อของออนไลน์จาก 2 เจ้านี้อยู่แล้ว คลิ๊กลิงค์ หรือ โลโก้ ข้างล่างนี้เลยครับ ผมจะได้ค่าคอมฯเล็กๆน้อยๆสมทบทุนจ่ายค่าเช่า host server ขอบคุณครับ

(ไม่ต้องกังวลนะครับ ไม่ใช่ลิงค์ดูดเงินแน่ๆ)

https://raka.is/r/qlzXR https://raka.is/r/gP7GV

--- มีคำถามเพิ่มเติม พูดคุย เม้าส์มอย ไปต่อกันได้ที่กระดานสนทนา (webboard) นะครับ

คลิ๊กเลย

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *

The Sweet Girl

ของมือสองของเฟิร์นค่ะ มีหลายชิ้นเลย ราคาดีสุดๆ (คลิ๊กที่รูปนะคะ ลิงค์จะพาไปที่ร้านค่ะ)

Fern shop

--------- คลิ๊ก - The Sweet Girl ----------