Safety officer Mi SWACO บ.น้ำโคลน SLB ประสบการณ์สัมภาษณ์

Safety officer Mi SWACO บ.น้ำโคลน SLB ประสบการณ์สัมภาษณ์ – Mi แต่เดิมเป็นบ.ให้บริการด้านน้ำโคลน ต่อมาได้ควบรวมกับ บ.ให้บริการกำจัดเศษหินออกจากน้ำโคลน (Solid Control) นัยว่าเป็นบริการที่ต่อเนื่องกัน ก็เลยรวมกันเสียเลย เป็นบ.ใหม่ชื่ Mi SWACO ไม่ต้องถามผมนะว่าทำไมไม่ชื่ SWACO MI ผมก็ไม่รู้อ่ะครับ

ต่อมา บ. service เจ้าตลาดอย่าง ชลัมเบอร์เจอร์ อยากจะมีงานน้ำโคลนให้บริการลูกค้า อารมณ์เจ้าสัว CP ไปซื้อกิจการอื่นๆในเครือเกษตรมานั่นแหละ ชลัมฯก็เลยซื้อ Mi SWACO มา แต่เนื่องจากชื่อ Mi SWACO มันติดตลาดอยู่นาน คนก็ยังรับรู้กันในชื่อเดิม

ก็ดูอย่าง Dowell (บริการปั๊มซีเมนต์) Anadrill (ให้บริการ directional drilling) หรือ FlowPetrol (ให้บริการทดสอบหลุม – well testing) และ อีกหลายบ. ที่ชลัมฯซื้อมา กว่าคนจะลืมชื่อเดิมก็มักจะเกิน 20 ปีล่ะมัง  (คนใหม่ๆไม่รู้ด้วยซ้ำว่าชลัมฯไปซื้อมา)

Safety officer Mi SWACO

บ.น้ำโคลน SLB ประสบการณ์สัมภาษณ์

ตำแหน่งด้าน safety บ. MI-Swaco (บ.น้ำโคลนของ SLB)

1 รู้จัก MI SWACO ไหม ทำอะไร

2 รู้จัก MSDS ไหม

3 ในการ implement ระบบ HSE ทำยังไง

4 เคย present by using power point ให้กับลูกค้าบ้างไหม

5 ถ้าเดินไปเห็น คน 2 คน 1ในนั้นไม่สวม PPE คุณจะทำอย่างไร

6 เคยทำระบบการจัดการคุณภาพไหม ทำอะไรบ้าง

7 ยกตัวอย่างการปรับปรุงเรื่อง hse ที่เคยทำ

8 ถ้าเลือกตำแหน่งในองค์กรนี้ได้ อยากทำส่วนไหน (ไม่พลาด คำถามนี้พี่นกติว ฮ่าๆ เก็ง แม่นมาก)

9 บ้านอยู่ไหน

(MSDS = Material Safety Data Sheet จะบอกว่าสารเคมีนั้นๆประกอบด้วยอะไร ปฐมพยาบาลยังไง คล้ายๆฉลากติดกระป๋องยาฆ่าหญ้า แต่มีมาตราฐานมีองด์กรรับรองความถูกต้องของข้อมมูล, HES = Health Safety Environment ตรงตัว ไม่ต้องแปล, PPE = Personal Protective Equipment ก็พวก แว่นตา รองเท้าหัวเหล็ก หมวกกันน๊อค ถุงมือ ฯลฯ น่ะครับ)

MSDS

https://en.wikipedia.org/wiki/Safety_data_sheet

safety data sheet (SDS),[1] material safety data sheet (MSDS), or product safety data sheet (PSDS) are documents that list information relating to occupational safety and health for the use of various substances and products. SDSs are a widely used system for cataloging information on chemicalschemical compounds, and chemical mixtures. SDS information may include instructions for the safe use and potential hazards associated with a particular material or product, along with spill-handling procedures. The older MSDS formats could vary from source to source within a country depending on national requirements; however, the newer SDS format is internationally standardized.

An SDS for a substance is not primarily intended for use by the general consumer, focusing instead on the hazards of working with the material in an occupational setting. There is also a duty to properly label substances on the basis of physico-chemical, health, or environmental risk. Labels can include hazard symbols such as the European Union standard symbols. The same product (e.g. paints sold under identical brand names by the same company) can have different formulations in different countries. The formulation and hazard of a product using a generic name may vary between manufacturers in the same country.

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *